ประเภทของภาพกราฟิก
ประเภทของภาพกราฟิก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
2.5.1 ภาพกราฟิกประเภท 2 มิติ
เป็นภาพกราฟิกที่มีแต่ความกว้างและความยาว แต่จะไม่มีความหนาหรือความลึก ได้แก่ ภาพสามเหลี่ยม ภาพสี่เหลี่ยม ภาพถ่าย ภาพลายเส้น ภาพวาด เป็นต้น โดยทั่วไปเรียกภาพกราฟิกประเภท 2 มิติว่า ภาพร่าง ดังแสดงในภาพที่1.3
ประเภทของภาพกราฟิก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
2.5.1 ภาพกราฟิกประเภท 2 มิติ
เป็นภาพกราฟิกที่มีแต่ความกว้างและความยาว แต่จะไม่มีความหนาหรือความลึก ได้แก่ ภาพสามเหลี่ยม ภาพสี่เหลี่ยม ภาพถ่าย ภาพลายเส้น ภาพวาด เป็นต้น โดยทั่วไปเรียกภาพกราฟิกประเภท 2 มิติว่า ภาพร่าง ดังแสดงในภาพที่1.3
2.5.2
ภาพกราฟิกประเภท 3 มิติ
เป็นภาพที่เกิดจากการใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ ภาพที่ได้จะมีลักษณะเหมือนภาพที่มองจากตาคน โดยภาพกราฟิกประเภท 3 มิติจะมีส่วนโค้ง เว้า มุม แสง ความลึก
และรายละเอียดที่สูงขึ้นจากภาพกราฟิกประเภท 2 มิติ
เป็นภาพที่เกิดจากการใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ ภาพที่ได้จะมีลักษณะเหมือนภาพที่มองจากตาคน โดยภาพกราฟิกประเภท 3 มิติจะมีส่วนโค้ง เว้า มุม แสง ความลึก
และรายละเอียดที่สูงขึ้นจากภาพกราฟิกประเภท 2 มิติ
2.5.3 ความแตกต่างของภาพกราฟิก 2 มิติแบบราสเตอร์และแบบเวคเตอร์
ความแตกต่างของภาพกราฟิก 2 มิติ
แบบราสเตอร์และเวคเตอร์ ดังแสดงในตารางที่ 1.1
ระบบสีที่ใช้กับภาพกราฟิก
โดยทั่วไปสีในธรรมชาติและสีที่สร้างขึ้น จะมีรูปแบบการมองเห็นของสีที่แตกต่างกัน ซึ่งรูปแบบการมองเห็นสีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกทั่วไปนั้น มีอยู่ด้วยกัน 7 ระบบ ได้แก่
1. ระบบสี RGB ตามหลักการแสดงสีของเครื่องคอมพิวเตอร์
2. ระบบสี CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ์
3. ระบบสี HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย์
4. ระบบสี LAB ตามหลักการแสดงสีที่ไม่ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ใด ๆ สามารถใช้กับสีที่เกิดจากอุปกรณ์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นจอคอมพิวเตอร์หรือเครื่องพิมพ์
โดยทั่วไปสีในธรรมชาติและสีที่สร้างขึ้น จะมีรูปแบบการมองเห็นของสีที่แตกต่างกัน ซึ่งรูปแบบการมองเห็นสีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกทั่วไปนั้น มีอยู่ด้วยกัน 7 ระบบ ได้แก่
1. ระบบสี RGB ตามหลักการแสดงสีของเครื่องคอมพิวเตอร์
2. ระบบสี CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครื่องพิมพ์
3. ระบบสี HSB ตามหลักการมองเห็นสีของสายตามนุษย์
4. ระบบสี LAB ตามหลักการแสดงสีที่ไม่ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ใด ๆ สามารถใช้กับสีที่เกิดจากอุปกรณ์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นจอคอมพิวเตอร์หรือเครื่องพิมพ์
5. ระบบสี Grayscale
มักใช้แปลงภาพสีเพื่อไปใช้ในงานพิมพ์แบบขาว-ดำ
6. ระบบสี Bitmap
ประกอบด้วย 2 สี คือขาวและดำ มักใช้กับภาพวาดที่วาด้วยหมึกดำ ภาพลายเส้น ภาพสเก็ตซ์ เป็นต้น
7. ระบบสี Indexed เป็นระบบจัดเก็บสี
โดยกำหนดให้ 1 ภาพ จะมีความละเอียดของสีไม่เกิน 256 สีเท่านั้น
2.6.1 ระบบสี RGB
ย่อมาจากคำว่า Red Green Blue เป็นระบบสีที่เกิดจากการรวมกันของแสง สีแดง สีเขียว และ สีน้ำเงิน เมื่อมีการใช้สัดส่วนของ 3 สีนี้ต่างกัน จะทำให้เกิดสีต่าง ๆ ได้อีกมากมายถึง 16.7 ล้านสี ซึ่งใกล้เคียงกับสีที่ตาเรามองเห็นปกติ โดยสีที่ได้จากการผสมสีขึ้นอยู่กับความเข้มของสี ถ้าหากสีมีความเข้มมากเมื่อนำมาผสมกันจะทำให้เกิดเป็นสีขาว จึงเรียกระบบสีนี้ว่า Additive หรือการผสมสีแบบบวก หลักการแสดงสีของจอคอมพิวเตอร์นั้นจะแสดงสีเป็นระบบ RGB อยู่แล้ว ไม่ว่าจะเลือกโหมดการทำงานใดก็ตาม ดังแสดงในภาพที่ 1.5
ย่อมาจากคำว่า Red Green Blue เป็นระบบสีที่เกิดจากการรวมกันของแสง สีแดง สีเขียว และ สีน้ำเงิน เมื่อมีการใช้สัดส่วนของ 3 สีนี้ต่างกัน จะทำให้เกิดสีต่าง ๆ ได้อีกมากมายถึง 16.7 ล้านสี ซึ่งใกล้เคียงกับสีที่ตาเรามองเห็นปกติ โดยสีที่ได้จากการผสมสีขึ้นอยู่กับความเข้มของสี ถ้าหากสีมีความเข้มมากเมื่อนำมาผสมกันจะทำให้เกิดเป็นสีขาว จึงเรียกระบบสีนี้ว่า Additive หรือการผสมสีแบบบวก หลักการแสดงสีของจอคอมพิวเตอร์นั้นจะแสดงสีเป็นระบบ RGB อยู่แล้ว ไม่ว่าจะเลือกโหมดการทำงานใดก็ตาม ดังแสดงในภาพที่ 1.5
2.6.2 ระบบสี CMYK
ย่อมาจากคำว่า Cyan Magenta Yellow Black เป็นระบบสีมาตรฐานที่เหมาะกับงานพิมพ์ พิมพ์ออกทางกระดาษหรือวัสดุผิวเรียบอื่น
ๆ โดยทำการแก้ไขจุดบกพร่องของระบบสี RGB ที่เครื่องพิมพ์ ไม่สามารถพิมพ์สีบางสีออกไปได้ ซึ่งประกอบด้วยสีหลัก 4 สี ได้แก่ สีฟ้า สีชมพูม่วง สีเหลือง และสีดำ เมื่อนำสีทั้งหมดมาผสมกันจะเกิดเป็นสีดำ จึงเรียกระบบสีนี้ว่า Subtractive Color หลักการเกิดสีของระบบนี้คือ หมึกสีหนึ่งจะดูดกลืนแสงจากสีหนึ่งและสะท้อนกลับออกมาเป็นสีต่าง ๆ ดังแสดงในภาพที่ 1.6
2.6.3 ระบบสี HSB
เป็นระบบสีที่เลี่ยนแบบการมองเห็นของสายตามมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
เป็นระบบสีที่เลี่ยนแบบการมองเห็นของสายตามมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
Hue
|
คือ
สีต่างๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุแล้วเข้าสู่สายตาของเรา ซึ่งมักเรียกสีตามชื่อสี
เช่น สีเขียว สีเหลือง สีแดง เป็นต้น
|
Saturation
|
คือ
ความสดของสี โดยค่าความสดของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากำหนด Saturation ที่ 0 สีจะมีความสดน้อย
แต่ถ้ากำหนดที่ 100 สีจะมีความสดมาก
|
Brightness
|
คือ
ระดับความสว่างของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากำหนดที่ 0 ความสว่างจะน้อยซึ่งจะเป็นสีดำ
แต่ถ้ากำหนดที่ 100 สีจะมีความสว่างมากที่สุด
|
ภาพที่ 1.7 ระบบสี HSB
2.6.4 ระบบสี LAB
เป็นมาตรฐานสำหรับการวัดค่าแบบครอบคลุมทุกสีในระบบสี RGB และ CMYK สามารถใช้กับสีที่ เกิดจากอุปกรณ์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นจอคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ รวมทั้งอุปกรณ์อื่นๆ ส่วนประกอบของระบบสีนี้ ได้แก่
L (Luminance) เป็นค่าความสว่าง จะมีค่าตั้งแต่ 0 (สีดำ) ไปจนถึงค่า 100 (สีขาว)
A แสดงการไล่สีจากสีเขียวไปยังสีแดง
B แสดงการไล่สีจากสีน้ำเงินไปยังสีเหลือง ดังแสดงในภาพที่ 1.8
L (Luminance) เป็นค่าความสว่าง จะมีค่าตั้งแต่ 0 (สีดำ) ไปจนถึงค่า 100 (สีขาว)
A แสดงการไล่สีจากสีเขียวไปยังสีแดง
B แสดงการไล่สีจากสีน้ำเงินไปยังสีเหลือง ดังแสดงในภาพที่ 1.8
2.6.5 ระบบสี
Grayscale
ระบบสีแบบ Grayscale จะจัดการแต่ละพิกเซลในแบบ
8 บิต เหมือนเป็นสวิทช์เปิด-ปิด แสดง 8 อัน เพื่อสร้างเป็น 1 สีดำ , 1 สีขาว , และ254 ระดับสีเทา
มักใช้กับภาพขาว-ดำ หรือแปลงภาพสีเพื่อไปใช้ในงานพิมพ์แบบขาว-ดำ
ซึ่งจะทำให้ขนาดของไฟล์ลดลง 2 ใน 3 ของ
RGB
2.6.6 ระบบสี Bitmap
ระบบสีแบบ Bitmap จะประกอบด้วยสี
2 สี คือ ขาวและดำ บางครั้งเรียกว่า ภาพแบบ 1 บิต ซึ่งแต่ละพิกเซลในภาพจะเป็นได้เพียงขาวหรือดำเท่านั้น
มักใช้กับภาพวาดที่วาด้วยหมึกดำ ภาพลายเส้น ภาพสเก็ตซ์ เป็นต้น
2.6.7 ระบบสี Indexed
เป็นระบบจัดเก็บสี โดยกำหนดให้ 1 ภาพ
จะมีความละเอียดของสีไม่เกิน 256 สีเท่านั้น
เป็นโหมดสีที่เหมาะสำหรับการทำภาพบน web โดยที่ทุกครั้งที่แปลงภาพจากโหมดสีอื่นๆ
มาเป็น Index โปรแกรมจะทำการสร้างตารางดัชนี ( Indexed
Color ) ขึ้นมาจัดเก็บสีในภาพ และจะทำการตรวจสอบรหัสสีที่ได้
โดยถ้าค่าสีใดอยู่นอกเหนือจาก 256 ในตารางดัชนีสี
จะถูกแปลงเป็นสีจากสีทั้ง 256 สีที่เก็บเอาไว้ใกล้เคียงให้โดยอัตโนมัติ
ดังนั้นภาพที่ได้จะให้ความสวยงามที่ใกล้เคียงของเดิม และทำให้ไฟล์มีขนาดเล็กลงด้วย จุดด้อยของระบบสี Indexed Color คือการมีสีใช้งานเพียง
256 เฉดสี
จึงทำให้ไม่สามารถเก็บรายละเอียดของสีเอาไว้ได้ครบถ้วน
2.2
ประเภทของไฟล์ภาพกราฟิก
การสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพกราฟิกประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มี
ความสำคัญ เพราะความละเอียดของไฟล์ภาพจะส่งผลกับขนาดของภาพ เช่น ภาพที่นำมาใช้งาน
บนเว็บเพจควรจะต้องมีขนาดเล็ก เพื่อนำไปเรียกใช้งานบนเว็บเพจได้อย่างรวดเร็ว
ประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกที่นิยมใช้โดยทั่วไป ได้แก่
2.7.1 JPEG หรือ JPG (Join Photographic Export Group)
เป็นรูปแบบไฟล์ที่เก็บภาพแบบราสเตอร์ที่ไม่ต้องการคุณภาพสูงมากนัก เช่น ภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล
ภาพถ่ายจากโทรศัพท์มือถือและภาพกราฟิกสำหรับแสดงบนอินเทอร์เน็ต สามารถแสดงสีได้ถึง 16.7 ล้านสี เป็นไฟล์ภาพชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยม เพราะไฟล์มีขนาดเล็กสามารถบีบอัดข้อมูลได้หลายระดับ
จุดเด่น
1. สนับสนุนสีได้ถึง 24 bit
2. แสดงสีได้ถึง 16.7 ล้านสี
3. สามารถกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ได้ตามที่ต้องการ
4. มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อย ๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบโพรเกรสซีฟ (Progressive)
5. มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจำนวนมาก
6. เรียกดูได้กับบราวเซอร์ (Browser) ทุกตัว
จุดด้อย
1. ไม่สามารถทำภาพให้มีพื้นหลังแบบโปร่งใส (Transparent) ได้
2. ทำภาพเคลื่อนไหว (Animation) ไม่ได้
1. สนับสนุนสีได้ถึง 24 bit
2. แสดงสีได้ถึง 16.7 ล้านสี
3. สามารถกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ได้ตามที่ต้องการ
4. มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อย ๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบโพรเกรสซีฟ (Progressive)
5. มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจำนวนมาก
6. เรียกดูได้กับบราวเซอร์ (Browser) ทุกตัว
จุดด้อย
1. ไม่สามารถทำภาพให้มีพื้นหลังแบบโปร่งใส (Transparent) ได้
2. ทำภาพเคลื่อนไหว (Animation) ไม่ได้
เป็นไฟล์ภาพที่สามารถบีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็กได้ส่วนมากจะนำไปใช้บันทึกเป็นไฟล์ภาพ
เคลื่อนไหวและนิยมมากในการใช้งานบนเว็บเพจ
จุดเด่น
1. สามารถใช้งานข้ามระบบไม่ว่าจะเป็นระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) หรือระบบปฏิบัติการ
ยูนิกซ์ (Unix) ก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี้ได้
2. ภาพมีขนาดไฟล์ต่ำ จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพทำให้สามารถส่งไฟล์ภาพได้อย่างรวดเร็ว
3. สามารถทำภาพพื้นหลังแบบโปร่งใสได้
4. มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจำนวนมาก
5. เรียกดูได้กับบราวเซอร์ทุกตัว
6. สามารถนำเสนอแบบภาพเคลื่อนไหวได้
1. สามารถใช้งานข้ามระบบไม่ว่าจะเป็นระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) หรือระบบปฏิบัติการ
ยูนิกซ์ (Unix) ก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี้ได้
2. ภาพมีขนาดไฟล์ต่ำ จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพทำให้สามารถส่งไฟล์ภาพได้อย่างรวดเร็ว
3. สามารถทำภาพพื้นหลังแบบโปร่งใสได้
4. มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจำนวนมาก
5. เรียกดูได้กับบราวเซอร์ทุกตัว
6. สามารถนำเสนอแบบภาพเคลื่อนไหวได้
จุดด้อย
1. แสดงสีได้เพียง 256 สี
2. ไม่เหมาะกับภาพที่ต้องการความคมชัดหรือความสดใส
1. แสดงสีได้เพียง 256 สี
2. ไม่เหมาะกับภาพที่ต้องการความคมชัดหรือความสดใส
เป็นชนิดของไฟล์ภาพที่นำจุดเด่นของไฟล์ภาพแบบ GIF และแบบ JPG มาพัฒนาร่วมกัน ทำให้ไฟล์ภาพชนิดนี้แสดงสีได้มากกว่า 256 สี และยังสามารถทำพื้นหลังภาพให้โปร่งใสได้
จึงเป็นไฟล์ภาพที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
จุดเด่น
1. สนับสนุนสีได้ตามค่า True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit)
2. สามารถกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ได้ตามที่ต้องการ
3. ทำภาพพื้นหลังแบบโปร่งใสได้
1. สนับสนุนสีได้ตามค่า True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit)
2. สามารถกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ได้ตามที่ต้องการ
3. ทำภาพพื้นหลังแบบโปร่งใสได้
จุดด้อย
1. หากกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ไว้สูงจะใช้เวลาในการคลายไฟล์ภาพสูงตามไปด้วย
2. ไม่สนับสนุนกับบราวเซอร์รุ่นเก่า
3. โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย
2.7.3 BMP (Bitmap)
เป็นรูปแบบของไฟล์ภาพมาตรฐานที่ใช้ได้ในระบบปฏิบัติการวินโดวส์โดยมีลักษณะการจัดเก็บ ไฟล์ภาพเป็นจุดสีทีละจุดจึงทำให้ภาพดูเสมือนจริง
จุดเด่น
1. แสดงรายละเอียดสีได้ 24 บิต
2. ไม่มีการสูญเสียข้อมูลใด ๆ เมื่อมีการย่อหรือขยายภาพ
3. นำไปใช้งานได้กับทุกโปรแกรมในระบบปฏิบัติการวินโดวส์
1. หากกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ไว้สูงจะใช้เวลาในการคลายไฟล์ภาพสูงตามไปด้วย
2. ไม่สนับสนุนกับบราวเซอร์รุ่นเก่า
3. โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย
2.7.3 BMP (Bitmap)
เป็นรูปแบบของไฟล์ภาพมาตรฐานที่ใช้ได้ในระบบปฏิบัติการวินโดวส์โดยมีลักษณะการจัดเก็บ ไฟล์ภาพเป็นจุดสีทีละจุดจึงทำให้ภาพดูเสมือนจริง
จุดเด่น
1. แสดงรายละเอียดสีได้ 24 บิต
2. ไม่มีการสูญเสียข้อมูลใด ๆ เมื่อมีการย่อหรือขยายภาพ
3. นำไปใช้งานได้กับทุกโปรแกรมในระบบปฏิบัติการวินโดวส์
จุดด้อย
1. ภาพมีขนาดใหญ่มากจึงใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บค่อนข้างมาก
2. ความละเอียดของภาพอาจจะไม่ชัดเจนเหมือนต้นฉบับ
1. ภาพมีขนาดใหญ่มากจึงใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บค่อนข้างมาก
2. ความละเอียดของภาพอาจจะไม่ชัดเจนเหมือนต้นฉบับ
2.7.4 TIF หรือ TIFF
(Tagged Image File)
เป็นไฟล์ที่ใช้เก็บภาพแบบราสเตอร์คุณภาพสูง เช่น ภาพกราฟิกที่นำไปทำงานด้านสิ่งพิมพ์ (Artwork) สามารถเก็บข้อมูลของภาพไว้ได้ครบถ้วน ทำให้คุณภาพของสีเหมือนต้นฉบับ
จุดเด่น
1. สามารถใช้งานข้ามระบบ ไม่ว่าจะเป็นระบบปฏิบัติการวินโดวส์หรือระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
ก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ภาพชนิดนี้ได้
2. แสดงรายละเอียดสีได้ 48 บิต
3. ไฟล์มีความยืดหยุ่นสูง สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้
4. เมื่อมีการบีบอัดไฟล์จะมีการสูญเสียข้อมูลน้อยมาก
5. มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจำนวนมาก
จุดด้อย
1. ไฟล์ภาพมีขนาดค่อนข้างใหญ่
2. ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บไฟล์ภาพสูง
1. ไฟล์ภาพมีขนาดค่อนข้างใหญ่
2. ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บไฟล์ภาพสูง
2.7.5 PSD (Photoshop
Document)
เป็นไฟล์ภาพเฉพาะโปรแกรม Adobe
Photoshop จะทำการบันทึกแบบแยกเลเยอร์ (Layer)
โดยเก็บประวัติการทำงานและรายละเอียดการตกแต่งภาพ เอาไว้ เพื่อง่ายต่อการแก้ไขในภายหลัง
จุดเด่น
1. มีการบันทึกแบบแยกเลเยอร์และเก็บประวัติการทำงานทุกขั้นตอน
2. สามารถนำไฟล์ภาพมาแก้ไขได้ในภายหลัง
จุดด้อย
1. ไฟล์ภาพมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับไฟล์ภาพประเภทอื่น
2. ไม่สามารถเปิดใช้งานในโปรแกรมอื่นได้
โดยเก็บประวัติการทำงานและรายละเอียดการตกแต่งภาพ เอาไว้ เพื่อง่ายต่อการแก้ไขในภายหลัง
จุดเด่น
1. มีการบันทึกแบบแยกเลเยอร์และเก็บประวัติการทำงานทุกขั้นตอน
2. สามารถนำไฟล์ภาพมาแก้ไขได้ในภายหลัง
จุดด้อย
1. ไฟล์ภาพมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับไฟล์ภาพประเภทอื่น
2. ไม่สามารถเปิดใช้งานในโปรแกรมอื่นได้